วันจันทร์ที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

UTQ-55201 ระเบียบงานสารบรรณ

UTQ-55201 ระเบียบงานสารบรรณ ได้ 20  คะแนน เต็ม

1.คำใดใช้ได้ถูกต้องเหมาะสมเมื่อนายกฯ ตาย
อสัญกรรม

2.หนังสือที่มีไปมา ระหว่างส่วนราชการ หรือส่วนราชการมีถึงบุคคลภายนอก จัดเป็นหนังสือประเภทใด
หนังสือภายนอก

3.งานสารบรรณมีประโยชน์ต่อราชการอย่างไร
ถูกทุกข้อ

4.หนังสือภายในเป็นหนังสืออย่างไร
ถูกทั้งข้อ ก. ข. และ ค.

5.ข้อใดเรียงลำดับการปฏิบัติเกี่ยวกับการรับหนังสือได้ถูกต้อง
เปิดผนึก ตรวจ ประทับตรารับ ลงทะเบียนรับ

6. ผู้มีอำนาจแต่งตั้งคณะกรรมการทำลายหนังสือต้องเป็นหัวหน้าส่วนราชการในตำแหน่งใด
ถูกทั้ง ก. ข. และ ค. แล้วแต่กรณี

7. การเก็บหนังสือมีประโยชน์ต่อข้อใดมากที่สุด
การค้นหา

8. หนังสือราชการคืออะไร
เอกสารที่เป็นหลักฐานในทางราชการ

9. หนังสือภายนอกกับหนังสือภายในต่างกันในข้อใด
แบบฟอร์ม

10. บรรทัดสุดท้ายของหนังสือสั่งการทุกประเภทจะต้องเป็นข้อความที่ระบุอะไร
ตำแหน่งของผู้มีอำนาจออกหนังสือ

11. ลักษณะในข้อใดที่เหมาะสำหรับผู้ปฏิบัติงานสารบรรณ
ถูกทั้ง ก. ข. และ ค. ประกอบกัน

12. ข้อใดต่อไปนี้อาจไม่มีในหนังสือราชการ
อ้างถึงและสิ่งที่ส่งมาด้วย

13. การเขียนหนังสือราชการที่มีคำลงท้ายว่า ขอแสดงความนับถือ” เป็นหนังสือที่มีไปถึงใคร
ถูกหมดทุกข้อ

14. ตราครุฑที่ใช้สำหรับเป็นแบบพิมพ์ในระเบียบงานสารบรรณขนาดใหญ่มีความสูงเท่าไร
- 3.0 ซม.

15. งานสารบรรณมีประโยชน์ต่อราชการอย่างไร
ถูกทุกข้อ

16. หนังสือภายในเป็นหนังสืออย่างไร
ถูกทั้งข้อ ก. ข. และ ค.

17. โทรศัพท์ โทรเลข หรือวิทยุใช้ในกรณีใด
เรื่องที่สั่งด้วยหนังสือไม่ท้น

18. ข้อความที่บันทึกในรายงานการประชุมมักเริ่มต้นด้วยอะไร
ประธานกล่าวเปิดประชุม

19. ผู้มีอำนาจอนุมัติการทำลายหนังสือราชการในส่วนภูมิภาคได้แก่ผู้ใด
ผู้ว่าราชการจังหวัด

20. สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีลงมติเห็นชอบในโครงการฟอนต์มาตรฐานราชการไทย ตรงกับข้อใด
 -TH Sarabun PSK




วันศุกร์ที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

UTQ-๐๐๑๐๑ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน/การวัดประเมินผล


UTQ-๐๐๑๐๑ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน/การวัดประเมินผล
  จำนวน 20 ข้อ ได้ 17 คะแนน


1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
    เป็นการกระจายอำนาจให้โรงเรียนมีบทบาทในการพัฒนาหลักสูตร ท่านมีความคิดเห็นอย่างไร
      ก. ไม่จริงเพราะโครงสร้างหลักสูตรแกนกลางไม่เปิดช่องให้ปรับตามบริบทเลย      ข. จริงเพราะโรงเรียนเป็นผู้อนุมัติการใช้หลักสูตรสถานศึกษาได้เอง      ค. ไม่จริงเพราะสถานศึกษาไม่สามารถกำหนดสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นได้เอง      ง. จริงเพราะนักเรียนทุกคนได้รับการศึกษาตามความถนัดและความสามารถ
2. ข้อใดไม่ใช่ประเด็นการเปลี่ยนแปลงจากหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
    สู่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
      ก. มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น -> ตัวชี้วัดชั้นปีในการศึกษาภาคบังคับ      ข. หลักสูตรเน้นเนื้อหา -> หลักสูตรอิงมาตรฐาน      ค. เวลาเรียนรวมแต่ละปี -> เวลาเรียนขั้นต่ำแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้      ง. ประเมินตามผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง -> ประเมินผลตามตัวชี้วัด
3. ข้อปฏิบัติใดของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับข้อกำหนดโครงสร้างเวลาเรียนของ
    หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
      ก. ระดับประถมศึกษาปรับเวลาเรียนพื้นฐานได้ตามความเหมาะสม      ข. มัธยมศึกษาต้องจัดรายวิชาเพิ่มเติมตามที่กำหนดในหลักสูตรแกนกลาง      ค. ระดับประถมศึกษาต้องจัดรายวิชาเพิ่มเติมทุกระดับชั้น      ง. ต้องจัดกิจกรรมชุมนุมในทุกระดับชั้นในมัธยมศึกษาตอนปลาย
4. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กำหนดสิ่งใดต่อไปนี้
    เป็นเป้าหมายสำคัญที่สุดในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน   
      ก. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง      ข. มาตรฐานการเรียนรู้      ค. สาระการเรียนรู้แกนกลาง 8 กลุ่ม      ง. หลักการของหลักสูตร
5. ข้อความที่ปรากฏข้างล่างนี้ เป็นข้อมูลส่วนใดของเอกสารกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น
      ก. เป้าหมาย/จุดเน้น      ข. สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น      ค. การประเมินคุณภาพระดับท้องถิ่น      ง. สาระการเรียนรู้พื้นฐาน
6. การวางแผนและดำเนินการใช้ วิจัยและพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา
    เป็นบทบาทหน้าที่ของใครต่อไปนี้
      ก. ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญของ สพฐ.      ข. ศึกษานิเทศก์ ชำนาญการ      ค. คณะครูและผู้บริหารสถานศึกษา      ง. นักวิชาการ คณาจารย์ สถาบันอุดมศึกษา
7. ข้อใดต่อไปนี้ที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กำหนดเพิ่มขึ้น
      ก. สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม      ข. โครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐาน      ค. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์      ง. ความต้องการของสถานศึกษาและท้องถิ่น
8. การจัดเวลาเรียนและการตัดสินผลการเรียนปัจจุบันดำเนินการตามข้อใด
      ก. ประถมศึกษาจัดเวลาเรียนและตัดสินผลการเรียนเป็นรายปี      ข. มัธยมศึกษาจัดเวลาเรียนและตัดสินผลการเรียนเป็นรายปี      ค. มัธยมศึกษาจัดเวลาเรียนและตัดสินผลการเรียนเป็นรายภาค      ง. ประถมศึกษาจัดเวลาเรียนละตัดสินผลการเรียนเป็นรายภาค
9. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนข้อใดครอบคลุมตามที่กำหนดในหลักสูตรแกนกลาง
      ก. แนะแนว ลูกเสือ ชุมนุม      ข. ลูกเสือ-เนตรนารี ชุมนุม กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์      ค. แนะแนว กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ กิจกรรมค่าย      ง. แนะแนว กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ลูกเสือ
10. เมื่อสถานศึกษาจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาจะต้องจัดทำสิ่งใดต่อไปนี้ควบคู่กันไป
        ก. วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด        ข. การออกแบบหน่วยการเรียนรู้        ค. จัดทำระเบียบการวัดและประเมินผลการเรียนตามหลักสูตร        ง. โครงสร้างรายวิชา ตามที่หลักสูตรสถานศึกษากำหนด
11. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานคาดหวังสิ่งใดให้เกิดกับผู้เรียนมากที่สุด
        ก. คุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้        ข. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี        ค. การเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน        ง. การเรียนรู้แบบบูรณาการ
12. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
      มีจุดมุ่งหมายอะไร
        ก. เพื่อพัฒนาการเรียนรู้        ข. เพื่อตัดสินผลการเรียน        ค. เพื่อเน้นการปฏิบัติตามสภาพจริง        ง. เพื่อพัฒนาการเรียนรู้และตัดสินผลการเรียน
13. การประเมินเพื่อตัดสินผลมีความหมายตรงกับต่อไปนี้
        ก. เพื่อตรวจสอบพัฒนาการของผู้เรียน        ข. เพื่อใช้แก้ปัญหาการเรียนรู้        ค. เพื่อออกแบบกระบวนการจัดการเรียนให้เหมาะสม        ง. เพื่อวินิจฉัยความรู้ความสามารถของผู้เรียนตามเกณฑ์ที่กำหนด
14. การจัดการเรียนการสอนและการวัดประเมินผลมีเป้าหมายเดียวกันคืออะไร
        ก. หน่วยการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ        ข. กิจกรรมการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ        ค. สื่อการสอนที่เหมาะสม        ง. นักเรียนที่มีคุณภาพ
15. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่องค์ประกอบของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
        ก. โครงสร้างเวลาเรียน        ข. มาตรฐานการเรียนรู้        ค. คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน        ง. เกณฑ์การจบหลักสูตร
16. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
        ก. ส่วนกลางกำหนดสาระการเรียนรู้แกนกลาง ซึ่งเป็นเป้าหมายการวัดประเมินผล แต่ละระดับชั้น        ข. เขตพื้นที่การศึกษากำหนดสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นเพื่อให้สถานศึกษาในเขตใช้ใน การจัดการเรียนรู้        ค. สถานศึกษาสามารถกำหนดเพิ่มเติมในส่วนสาระตามความต้องการของท้องถิ่น หรือ ส่วนที่ต้องการเน้นได้        ง. สถานศึกษาสามารถกำหนดรายวิชาเพิ่มเติมให้เหมาะสมกับบริบทและความต้องการ
17. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กับ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
      มีหลักการเดียวกันคืออะไร ?
        ก. ยึดสาระการเรียนรู้แกนกลางเป็นหลัก        ข. เป็นหลักสูตรอิงมาตรฐาน        ค. มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เกิดสมรรถนะสำคัญ        ง. มีวิสัยทัศน์แกนกลางเพื่อความเป็นเอกภาพ
18. องค์ประกอบสำคัญของหลักสูตรสถานศึกษา
        ก. คำอธิบายรายวิชา        ข. มาตรฐานการเรียนรู้        ค. สาระการเรียนรู้พื้นฐาน        ง. เกณฑ์การประเมินกลุ่มสาระการเรียนรู้
19. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ต้องผ่านการอนุมัติการใช้จากคณะกรรการสถานศึกษา
        ก. โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา        ข. คำอธิบายรายวิชา        ค. เกณฑ์การจบหลักสูตร        ง. หน่วยการเรียนรู้
20. โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา มีสิ่งสำคัญอะไรบ้าง ?
        ก. กำหนดรายวิชาที่จัดสอนแต่ละปี/ภาคเรียน เวลาเรียนหรือหน่วยกิต        ข. ความต้องการของท้องถิ่น/สถานศึกษา/เขตพื้นที่การศึกษา        ค. เกณฑ์การจบการศึกษาของผู้เรียน / สถานศึกษา        ง. หน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้
21. รายวิชาพื้นฐานในหลักสูตรสถานศึกษากำหนดมาจากสิ่งใด ?
        ก. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน        ข. จุดหมายของหลักสูตรแกนกลาง        ค. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของหลักสูตรแกนกลาง        ง. มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดของหลักสูตรแกนกลาง
22. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่กิจกรรมพัฒนานักเรียน ?
        ก. กิจกรรมแนะแนวศึกษาต่อ        ข. กิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์        ค. กิจกรรมไหว้ครู        ง. กิจกรรมชุมนุมวาดภาพ
23. ผังความคิดต่อไปนี้ต้องการสื่อสารอะไร
         ก. การนำความรู้ ทักษะ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ไปกำหนดเป็นรายวิชา         ข. การนำความรู้ ทักษะ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ไปเขียนเป็นคำอธิบายรายวิชา         ค. มาตรฐานการเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีประกอบด้วย 2สาระ         ง. ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีประกอบด้วย 2 รายวิชา
24. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่สถานศึกษากำหนดข้อใดครอบคลุมตามข้อกำหนดของหลักสูตรแกนกลาง
         ก. แนะแนว ลูกเสือ ชุมนุม         ข. แนะแนว ลูกเสือ-เนตรนารี ผู้บำเพ็ญประโยชน์         ค. แนะแนว ผู้บำเพ็ญประโยชน์ กิจกรรมเพื่อสังคมฯ         ง. แนะแนว ลูกเสือ-เนตรนารีหรือผู้บำเพ็ญประโยชน์ กิจกรรมเพื่อสังคมฯ
25. จุดเน้นของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ได้กำหนดสิ่งใด
      เพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาด้านคุณธรรมจริยธรรมของผู้เรียน
         ก. สมรรถนะสำคัญ         ข. คุณลักษณะอันพึ่งประสงค์         ค. วิสัยทัศน์         ง. สาระการเรียนรู้แกนกลาง
26. การเชื่อมโยงจากหลักสูตรสถานศึกษาสู่การเรียนการสอนและวัดประเมินผล
      มีสิ่งใดต่อไปนี้เป็นตัวเชื่อม ?
         ก. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กับ ตัวชี้วัด         ข. คำอธิบายรายวิชา กับ โครงสร้างรายวิชา         ค. เกณฑ์การจบหลักสูตร กับ หน่วยการเรียนรู้         ง. โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา กับ เกณฑ์การตัดสิน
27. จุดมุ่งหมายสำคัญของการวัดประเมินผลการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลาง
      การศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
         ก. เพื่อพัฒนาการเรียนรู้         ข. เพื่อตัดสินผลการเรียน         ค. เพื่อเน้นการปฏิบัติตามสภาพจริง         ง. เพื่อพัฒนาการเรียนรู้และตัดสินผลการเรียน
28. บทบาทสำคัญในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่ครูต้องคำนึงถึงมากที่สุดคืออะไร ?
         ก. ใช้การวัดผลเป็นเครื่องมือการพัฒนาหน่วยการเรียนรู้         ข. ใช้การประเมินเป็นเป้าหมายของการจัดกลุ่มผู้เรียนตามศักยภาพ         ค. ใช้การประเมินเป็นกลไกในการพัฒนา ช่วยเหลือผู้เรียนให้บรรลุเป้าหมาย         ง. ใช้การวัดและประเมินประสิทธิภาพการสอน
29. เกณฑ์การให้คะแนน ( Rubrics ) ควรใช้กับการประเมินลักษณะใด
         ก. การประเมินเชิงคุณภาพ         ข. การประเมินแบบอิงกลุ่ม         ค. การประเมินเชิงปริมาณ         ง. ถูกหมดทุกข้อ
30. การประเมินระดับใดที่ประเมินได้ตรงและสะท้อนคุณภาพตามมาตรฐานมากที่สุด
         ก. ระดับระดับชั้นเรียน         ข. ระดับสถานศึกษา         ค. ระดับเขตพื้นที่การศึกษา         ง. ระดับชาติ

วันอังคารที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2558

UTQ-๕๕๒๐๖ การพัฒนาการคิดขั้นสูง




UTQ- 55206 การพัฒนาการคิดขั้นสูง     
  จำนวน 20 ข้อ ได้ 17 คะแนน

1. “ผู้เรียนสามารถแยกแยะความเกี่ยวข้องและความสำคัญได้” เป็นองค์ประกอบใดของการวิเคราะห์
     • ง. การตรวจสอบ


2. ข้อใดเป็นอุปสรรคต่อทักษะการคิด
     • ง. ถูกทุกข้อ


3. “การที่ผู้เรียนสามารถนำเอาข้อมูลหรือหลักการมาพิจารณาหาความน่าจะเป็นได้” เป็นองค์ประกอบใดของความเข้าใจ
     • ค. การอนุมาน


• 4. ข้อใดเป็นขั้นตอนในการจัดการเรียนรู้แบบส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
     • ข. ขั้นสร้างความตระหนัก – ขั้นระดมพลังความคิด – ขั้นสร้างสรรค์ชิ้นงาน – ขั้นนำเสนอผลงาน 

           – ขั้นวัดและประเมินผล – ขั้นเผยแพร่ผลงาน
5.ข้อใดลำดับขั้นตอนรูปแบบการสอนแบบสืบสวนเพื่อพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ได้ถูกต้อง
     • ง. เสนอสถานการณ์ปัญหา – ตั้งสมมติฐาน – รวบรวมข้อมูลสรุปเป็นกฎเกณฑ์ในการแก้ปัญหา


6. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
     • ข. ความสามารถในการแก้ปัญหา 


7. ข้อใดคือกิจกรรมที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
     • ง. ถูกทุกข้อ


8. “การหาแนวคิดใหม่ๆ ด้วยการเอาใจเขามาใส่ใจเรา เข้าใจถึงมุมมองของคนอื่น” เป็นเครื่องมือสร้างความคิดสร้างสรรค์ใด
     • ค. การคิดด้วยสร้างความรู้สึกร่วมเป็นคนอื่น


9. “ความสามารถที่จะพยายามคิดให้หลายประเภทอย่างอิสระ” เป็นองค์ประกอบของความคิดเชิงสร้างสรรค์ในองค์ประกอบใด
     • ค. ความคิดยืดหยุ่น


10. “แนวคิดที่เป็นการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ขึ้น” เป็นประเภทใดของความคิดสร้างสรรค์
     • ก. ความคิดสร้างสรรค์ประเภทความเปลี่ยนแปลง


11. ข้อใดคือกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณตามแนวคิดของเอนนิส (Ennis, 1985)
    ข. ทักษะการนิยาม – ทักษะการตัดสินความน่าเชื่อถือของข้อมูล – ทักษะการอ้างอิง


12. “ควรฝึกตั้งคำถามให้ได้ว่า สิ่งนี้คืออะไร สิ่งนั้นคืออะไร อะไรมีประโยชน์ ทำอย่างไรจะสำเร็จประโยชน์อันนั้นเป็นกิจกรรมในการพัฒนาความคิดอย่างมีวิจารณญาณ กิจกรรมใด
   • ค. ฝึกตั้งสมมติฐานและตั้งคำถาม


13. การวิพากษ์เป็นองค์ประกอบของความสามารถระดับใด
     • ข. การประเมินค่า


14. กระบวนการคิดที่มุ่งพิจารณาอย่างรอบคอบเพื่อที่จะเชื่อหรือไม่เชื่อสิ่งใด หมายถึง
     • ข. การคิดไตร่ตรอง


15. การเทิดทูนบูชา เป็นสมรรถภาพของคนด้านใดตามแนบคิดของ Bloom
     • ก. ด้านความรู้สึก 


16. ข้อใดเรียงลำดับทักษะการคิดตามแนว Krulid & Rudnick (1993) ได้ถูกต้อง
     ง. การคิดในระดับการระลึก - การคิดพื้นฐาน – การคิดอย่างมีวิจารณญาณ – การคิดสร้างสรรค์


17. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการพัฒนาการคิดตามแนว Fraenkel (1980)
     • ง. ทักษะการคิดไม่สามารถเรียนรู้ได้


18. ข้อใดเป็นทักษะการคิดขั้นสูง หรือทักษะการคิดที่ซับซ้อน ทั้งหมด ตามแนวคิดของ ทิศนา แขมมณี และคณะ (2554)
     • ง. ทักษะการนิยาม ทักษะการทำนาย 


19. การแก้ปัญหา อยู่ในมิติการเรียนรู้ใด ตามแนวคิดของ Marzano et al., (1997)
     • ง. การนำความรู้ไปใช้


20. ข้อใดคือคุณลักษณะของผู้ที่มีการคิดขั้นสูง
     • ก. การจัดการกับสถานการณ์ที่ซับซ้อน


วันจันทร์ที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2558

UTQ-๕๕๑๒๔ แนะแนว


UTQ-๕๕๑๒๔ แนะแนว
จำนวน : 20 ข้อ ได้ 14 คะแนน 

1. ถ้าท่านต้องการเป็นครูแนะแนวที่ดี ท่านควรทำอย่างไร
     -ปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้

2. ครูแนะแนวคนใดมีคุณลักษณะเหมาะสมที่จะเป็นนักจิตวิทยาการปรึกษามากที่สุด
     -ถูกทุกข้อ

3. ครูสร้อยฟ้ากำลังให้การปรึกษานักเรียนชั้น ม. ซึ่งกำลังมีปัญหาทะเลาะกับเพื่อนชายที่สนิทและกำลังร้องไห้ถ้าท่านเป็นครู สร้อยฟ้าท่านจะใช้ทักษะการโต้ตอบกับนักเรียนอย่างไร
     *นักเรียน : หนูไม่เข้าใจว่าทำไมอยู่ดีๆ เขาก็ไม่คุยกับหนู ไม่โทรมา ไม่ติดต่อเลย หนูทำผิดอะไร ฮือๆๆๆ
     *ครูสร้อยฟ้า : ………………………………………………
         -ใจเย็นๆ ทุกอย่างแก้ไขได้จ้ะ

4. การจัดกิจกรรมแนะแนวสำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ สำหรับโรงเรียนสหศึกษาแห่งหนึ่งซึ่งเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ มีชื่อเสียงอยู่ใจกลางเมือง จัดการเรียนการสอนถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย นักเรียนส่วนใหญ่จะเรียนต่อในระดับที่สูงขึ้นไป ควรกำหนดสัดส่วนการจัดกิจกรรมแนะแนวตามลำดับมากไปหาน้อยอย่างไร
     -การศึกษา อาชีพ ส่วนตัวและสังคม

5. ข้อใดที่แสดงถึงการใช้ทักษะการปรึกษาเชิงจิตวิทยาของครูแนะแนว
     -เชิญนักเรียนมาพูดคุยให้เกิดความสบายใจ

6. การจัดกิจกรรมแนะแนวเรื่อง โลกกว้างทางการศึกษาสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ของครูคนใดที่จัดกิจกรรมแนะแนวได้เหมาะสมที่สุด
     -ข. ครูเมฆพานักเรียนไปชมมหาวิทยาลัย

7. สิ่งสำคัญที่ครูควรคำนึงในการเลือกเครื่องมือเพื่อใช้ในการแนะแนวคืออะไร
     -ความสอดคล้องกับจุดประสงค์

8. ขั้นตอนการศึกษารายกรณีขั้นตอนใดที่อาจจะต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านในการศึกษา
     -การวินิจฉัย

9. ข้อใดไม่ใช่ข้อกำหนดของจรรยาบรรณวิชาชีพจิตวิทยาการแนะแนว
     -มีความทันสมัยและทันต่อเหตุการณ์ต่างๆ

10. การปรึกษาของครูคนใดที่เอื้อให้ผู้มารับการปรึกษามีกำลังใจที่จะแก้ไขปัญหา
     -ครูพอเพียงให้กำลังใจนักเรียนสู้กับปัญหา

11. การวิเคราะห์หลักสูตรกิจกรรมแนะแนวในโรงเรียนข้อใดสำคัญที่สุด
     -ทุกข้อที่กล่าวมา

12. ข้อใดเป็นจุดอ่อนของการดำเนินงานบริการสนเทศในสถานศึกษาในด้านความพร้อมของบุคลากร
     -ครูแนะแนวมีภาระการสอนวิชากิจกรรมแนะแนวในคาบเรียนมาก

13. กระบวนการปรึกษาเชิงจิตวิทยาขั้นตอนใดที่อาจจะต้องมีการส่งต่อผู้เชี่ยวชาญ
     -ขั้นยุติการปรึกษา

14. ครูคนใดทำการศึกษารายกรณี (Case Study) โดยมีจุดมุ่งหมายชัดเจน
     -ถูกทุกข้อที่กล่าวมา

15. การเขียนรายงานการศึกษารายกรณีของครูคนใดถูกต้องตามวัตถุประสงค์
     -ถูกทุกข้อ

16. ถ้าเราต้องการทราบข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับตัวเด็กในระยะเวลาที่รวดเร็ว เทคนิคที่นิยมใช้ มากที่สุดคืออะไร
     -แบบสอบถาม

17. ครูแนะแนวท่านใดศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับนักเรียนโดยการสังเกตได้อย่างเหมาะสมที่สุด
     -ครูปฐพีเฝ้าติดตามพฤติกรรมตลอดเวลา

18. ข้อใดแสดงถึงจุดแข็งของการดำเนินงานบริการจัดวางตัวบุคคลในสถานศึกษาที่เป็นการให้ผู้มีส่วนได้เสียเข้ามามีส่วนร่วม
     -การแต่งตั้งกรรมการนักเรียนเป็นคณะกรรมการคัดเลือกนักเรียนเข้ารับทุนการศึกษา

19. การออกแบบกิจกรรมแนะแนวประกอบไปด้วยการจัดทำแผนระยะยาวและการเขียนแผน การจัดกิจกรรมรายคาบ ข้อใดเป็นขั้นตอนสุดท้ายของการจัดทำแผนรายคาบ
     -การกำหนดวิธีประเมินผลกิจกรรม

20. เทคนิคและเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษารายกรณีของครูคนใดเหมาะสมที่จะศึกษานักเรียนเป็นรายกรณีในปัญหาบุคลิกภาพมากที่สุด
     -ครูดินไปเยี่ยมบ้านนักเรียน

UTQ-55116 สุขศึกษา พลศึกษาระดับประถมศึกษา


UTQ-55116 สุขศึกษา พลศึกษาระดับประถมศึกษา
จำนวน  20 ข้อ ได้ 16 คะแนน

1. การสอนตะกร้อ เป็นการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ประการใด
     – รักความเป็นไทย

2. เหตุใดจึงต้องมีการประเมินสื่อ
     – เพื่อตัดสินใจในการใช้สื่อการสอนในครั้งต่อไป

3. การจัดกิจกรรมขั้นนำเข้าสู่บทเรียน สำคัญหรือไม่เพราะอะไร
     – สำคัญ เพราะเป็นการเร้าความสนใจ

4. ข้อใดเป็นลักษณะเกณฑ์การให้คะแนนแยกส่วน
     – การให้คะแนนโดยพิจารณาแต่ละส่วนโดยกำหนดแนวทางการให้คะแนนอย่างชัดเจน

5. การพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์คือ
     – การพัฒนาผู้เรียนไปสู่ความเจริญก้าวหน้าและความสงบสุขในสังคม

6. ข้อใดคือสิ่งที่ผู้เรียนจะได้รับจากการเรียนสุขศึกษา
     – พัฒนาศักยภาพด้านความเจริญเติบโตและพัฒนาการทางกาย

7. สาระการเรียนรู้แกนกลาง “พฤติกรรมเสี่ยงที่นำไปสู่การมีเพศสัมพันธ์ การติดเชื้อเอดส์ และการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร” อยู่ในสาระใด
     – ชีวิตและครอบครัว

8. ข้อใดคือสื่อวัสดุที่ไม่สามารถถ่ายทอดความรู้ได้ด้วยตนเอง
     – ลูกฟุตบอล

9. ข้อใดไม่ใช่การอบอุ่นร่างกายแบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย
     – กระโดดปรบมือเหนือศีรษะ

10. กิจกรรมใดควรใช้การประเมินด้านคุณภาพ
     – ยิมนาสติก

11. “การเต้นลีลาศ” เป็นการจัดกิจกรรมรูปแบใด
     – การจัดกิจกรรมประกอบเพลง

12. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาพลศึกษา ไม่ได้มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีพัฒนาการด้านใด
     – ด้านการคิด

13. มาตรฐานการเรียนรู้ “เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดำรงสุขภาพ การป้องกันโรค และการเสริมสร้างสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ” อยู่ในสาระใด
     -การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและป้องกันโรค

14. ความหมายของการประเมิน ตรงกับข้อใดมากที่สุด
     – การนำผลจากการวัดมาเปรียบเทียบกับเกณฑ์หรือมาตรฐาน

15. ข้อใดคือคุณภาพของผู้เรียนเมื่อจบช่วงชั้นที่ 2 (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6)
     – จัดการกับอารมณ์ ความเครียดและปัญหาสุขภาพได้อย่างเหมาะสม

16. ข้อใดเป็นการจัดกิจกรรมแบบมีอุปกรณ์
     – การกระโดดข้ามเครื่องกีดขวาง การกระโดดเชือก

17. กิจกรรมเข้าจังหวะ เป็นสื่อประเภทใด
     – สื่อกิจกรรม

18. การประเมินนักเรียนจากการปฏิบัติ เป็นการประเมินแบบใด
     – การประเมินตามสภาพจริง

19. ข้อใดเป็นองค์ประกอบสำคัญในการใช้สื่อให้เกิดประโยชน์
     – สื่อต้องมีความเหมาะสมกับผู้เรียน

20. ข้อใดกล่าวถึงจุดมุ่งหมายของพลศึกษา
    a) มุ่งเน้นให้ผู้เรียนพัฒนาพฤติกรรมด้านความรู้ เจตคติ คุณธรรม ค่านิยม และการปฏิบัติเกี่ยวกับสุขภาพควบคู่
        ไปด้วยกัน
     b) มุ่งเน้นให้ผู้เรียนใช้กิจกรรมการเคลื่อนไหว การออกกำลังกาย การเล่นเกมและกีฬา เป็นเครื่องมือในการพัฒนา
         โดยรวม ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญา รวมทั้งสมรรถภาพเพื่อสุขภาพและกีฬา
          – ข้อ a)

UTQ-๕๕๑๑๐ วิทยาศาสตร์ ระดับประถมศึกษาตอนปลาย


UTQ-๕๕๑๑๐ วิทยาศาสตร์ ระดับประถมศึกษาตอนปลาย
จำนวน : 20 ข้อ ได้ 17 คะแนน

1. ถ้าต้องการออกแบบการเรียนรู้เรื่องระบบการทำงานในร่างกาย เพื่อให้สอดคล้องตามหลักการเรียนวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน สำหรับนักเรียนประถมศึกษา ควรออกแบบอย่างไร
     -ง. ศึกษาจากแบบจำลอง

2. ข้อใดสอดคล้องกับการเรียนวิทยาศาสตร์แบบสืบสอบ รูปแบบการเรียนรู้ ขั้น(5E) ในขั้นขยายความรู้มากที่สุด
     -ส่งเสริมให้ผู้เรียนนำสิ่งที่ผู้เรียนได้เรียนรู้ไปประยุกต์ใช้เพื่อขยายความรู้และทักษะในสถานการณ์ใหม่

3. ข้อใดไม่สอดคล้องกับการเรียนวิทยาศาสตร์แบบสืบสอบ รูปแบบการเรียนรู้ ขั้น ในขั้นอธิบายและลงข้อสรุป
     -ก. ยอมรับคำอธิบายโดยไม่มีหลักฐานหรือเหตุผลประกอบ

4. การอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณก๊าซเรือนกกระจกกับปริมาณน้ำทะเลที่เพิ่มขึ้นเป็นการวัดผลความรู้ ความคิดในด้านใด
     -ก. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์

5. ข้อใดไม่สอดคล้องกับการเรียนวิทยาศาสตร์แบบสืบสอบ 5E ในขั้นสร้างความสนใจ
    -ก. บรรยาย

6. การนำความรู้เรื่องแรงลอยตัวไปสร้างเรือ เป็นการใช้ความรู้ความคิดด้านใด
     -ข. การนำความรู้ไปใช้

7. ข้อใดที่เป็นแนวคิดหลักของการสืบเสาะความรู้แบบวิทยาศาสตร์
     -ค. การสำรวจตรวจสอบทางวิทยาศาสตร์ สามารถทำได้หลายรูปแบบ แต่ผลของการสำรวจตรวจสอบจะไม่เหมือนเดิมทุกประการ 
      ต้องสังเกตและอภิปรายเพิ่มเติม

8. ข้อใดไม่ใช่หลักเกณฑ์ที่ใช้ในการคัดเลือกสื่อการเรียนรู้
     -ก. การประหยัดและคุ้มค่า

9. การเรียนวิทยาศาสตร์ในห้องเรียนสำหรับนักเรียนประถม ควรออกแบบอย่างไรให้เหมาะสม
     -ก. นักเรียนในวัยนี้ ยังไม่สามารถทำความเข้าใจสิ่งต่างๆที่เป็นนามธรรมได้ดี ควรให้ได้ลงมือทดลองและปฏิบัติและเรียนรู้ผ่ายสื่อ
      ต่างๆ เช่นของจริง การทดลองให้มาก

10. พิพิธภัณฑ์ไม้กลายเป็นหิน เหมาะกับการมาประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอนในเรื่องใดมากที่สุด
     ค. -กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก

11. ข้อใดไม่สอดคล้องกับการเรียนวิทยาศาสตร์แบบสืบสอบ(5E) ในขั้นสำรวจค้นหา
     -ข. บอกหรืออธิบายวิธีการแก้ปัญหา

12. เหตุใดจึงกล่าวว่า วิทยาศาสตร์เป็นวัฒนธรรมของโลกในสมัยใหม่ซึ่งเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้
     -ข. วิทยาศาสตร์ส่งเสริมให้มีการพัฒนาความรู้ใหม่ๆอยู่เสมอ รวมทั้งด้านเทคโนโลยีของโลกสมัยใหม่ด้วย

13. จงนำความรู้การหลอมเหลวของสาร มาอธิบายการเปลี่ยนสถานะของไอศกรีม จากข้อความข้างต้น เป็นการวัดผลและประเมินผลด้านความรู้ ความคิดในข้อใด
     -ง. ความรู้รวบยอดในเนื้อเรื่อง

14. การสอนแบบใดที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยดนเอง
     -ง. ให้นักเรียนลงมือทำโครงงานวิทยาศาสตร์และแบบProjecl-based leaming)

15. คำถามในข้อใดเป็นคำถามที่กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความคิดในขั้นความเข้าใจตามแนวคิดของ Benjamin Bloom,s Taxonomy of learning Domains
     -ก. เสียงในระดับที่มนุษย์ได้ยินอยู่ในระดับความถี่ใด

16. ข้อใดไม่ได้หมายถึงสื่อและแหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียน
     -ข. ผู้สอนประจำวิชา

17. ถ้าผู้สอนประเมินผลการใช้กล้องจุลทรรศน์ของนักเรียนด้วยการให้ปรับหาภาพให้คมชัดภายใน นาที เป็นการประเมินผลด้านการปฎิบัติในข้อใด
     -ค. ขั้นการทำด้วยความชำนาญ

18. ข้อใดตรงกับความหมายของคำว่า ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์
     -ง. ลักษณะเฉพาะตัวของวิทยาศาสตร์อันประกอบด้วยค่านิยม ข้อสรุป แนวคิด คำอธิบายต่างๆที่แฝงอยู่ในตัววิทยาศาสตร์ 
       ความรู้ทางวิทยาศาสตร

19. นักเรียนประถมศึกษาปีที่ 4-6 ควรได้รับการพัฒนาความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์มากขึ้นจากนักเรียนระดับชั้น ป.1-3 ในด้านใด
     - ข. ด้าน และ 3

20. ข้อใดเป็นสื่อการเรียนประเภท การทดลองของเสมือนจริง
     -ง. Plearnsoft