วันอังคารที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2558

UTQ-๕๕๒๐๖ การพัฒนาการคิดขั้นสูง




UTQ- 55206 การพัฒนาการคิดขั้นสูง     
  จำนวน 20 ข้อ ได้ 17 คะแนน

1. “ผู้เรียนสามารถแยกแยะความเกี่ยวข้องและความสำคัญได้” เป็นองค์ประกอบใดของการวิเคราะห์
     • ง. การตรวจสอบ


2. ข้อใดเป็นอุปสรรคต่อทักษะการคิด
     • ง. ถูกทุกข้อ


3. “การที่ผู้เรียนสามารถนำเอาข้อมูลหรือหลักการมาพิจารณาหาความน่าจะเป็นได้” เป็นองค์ประกอบใดของความเข้าใจ
     • ค. การอนุมาน


• 4. ข้อใดเป็นขั้นตอนในการจัดการเรียนรู้แบบส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
     • ข. ขั้นสร้างความตระหนัก – ขั้นระดมพลังความคิด – ขั้นสร้างสรรค์ชิ้นงาน – ขั้นนำเสนอผลงาน 

           – ขั้นวัดและประเมินผล – ขั้นเผยแพร่ผลงาน
5.ข้อใดลำดับขั้นตอนรูปแบบการสอนแบบสืบสวนเพื่อพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ได้ถูกต้อง
     • ง. เสนอสถานการณ์ปัญหา – ตั้งสมมติฐาน – รวบรวมข้อมูลสรุปเป็นกฎเกณฑ์ในการแก้ปัญหา


6. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
     • ข. ความสามารถในการแก้ปัญหา 


7. ข้อใดคือกิจกรรมที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
     • ง. ถูกทุกข้อ


8. “การหาแนวคิดใหม่ๆ ด้วยการเอาใจเขามาใส่ใจเรา เข้าใจถึงมุมมองของคนอื่น” เป็นเครื่องมือสร้างความคิดสร้างสรรค์ใด
     • ค. การคิดด้วยสร้างความรู้สึกร่วมเป็นคนอื่น


9. “ความสามารถที่จะพยายามคิดให้หลายประเภทอย่างอิสระ” เป็นองค์ประกอบของความคิดเชิงสร้างสรรค์ในองค์ประกอบใด
     • ค. ความคิดยืดหยุ่น


10. “แนวคิดที่เป็นการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ขึ้น” เป็นประเภทใดของความคิดสร้างสรรค์
     • ก. ความคิดสร้างสรรค์ประเภทความเปลี่ยนแปลง


11. ข้อใดคือกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณตามแนวคิดของเอนนิส (Ennis, 1985)
    ข. ทักษะการนิยาม – ทักษะการตัดสินความน่าเชื่อถือของข้อมูล – ทักษะการอ้างอิง


12. “ควรฝึกตั้งคำถามให้ได้ว่า สิ่งนี้คืออะไร สิ่งนั้นคืออะไร อะไรมีประโยชน์ ทำอย่างไรจะสำเร็จประโยชน์อันนั้นเป็นกิจกรรมในการพัฒนาความคิดอย่างมีวิจารณญาณ กิจกรรมใด
   • ค. ฝึกตั้งสมมติฐานและตั้งคำถาม


13. การวิพากษ์เป็นองค์ประกอบของความสามารถระดับใด
     • ข. การประเมินค่า


14. กระบวนการคิดที่มุ่งพิจารณาอย่างรอบคอบเพื่อที่จะเชื่อหรือไม่เชื่อสิ่งใด หมายถึง
     • ข. การคิดไตร่ตรอง


15. การเทิดทูนบูชา เป็นสมรรถภาพของคนด้านใดตามแนบคิดของ Bloom
     • ก. ด้านความรู้สึก 


16. ข้อใดเรียงลำดับทักษะการคิดตามแนว Krulid & Rudnick (1993) ได้ถูกต้อง
     ง. การคิดในระดับการระลึก - การคิดพื้นฐาน – การคิดอย่างมีวิจารณญาณ – การคิดสร้างสรรค์


17. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการพัฒนาการคิดตามแนว Fraenkel (1980)
     • ง. ทักษะการคิดไม่สามารถเรียนรู้ได้


18. ข้อใดเป็นทักษะการคิดขั้นสูง หรือทักษะการคิดที่ซับซ้อน ทั้งหมด ตามแนวคิดของ ทิศนา แขมมณี และคณะ (2554)
     • ง. ทักษะการนิยาม ทักษะการทำนาย 


19. การแก้ปัญหา อยู่ในมิติการเรียนรู้ใด ตามแนวคิดของ Marzano et al., (1997)
     • ง. การนำความรู้ไปใช้


20. ข้อใดคือคุณลักษณะของผู้ที่มีการคิดขั้นสูง
     • ก. การจัดการกับสถานการณ์ที่ซับซ้อน


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น