วันอังคารที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2558

UTQ-๕๕๒๐๖ การพัฒนาการคิดขั้นสูง




UTQ- 55206 การพัฒนาการคิดขั้นสูง     
  จำนวน 20 ข้อ ได้ 17 คะแนน

1. “ผู้เรียนสามารถแยกแยะความเกี่ยวข้องและความสำคัญได้” เป็นองค์ประกอบใดของการวิเคราะห์
     • ง. การตรวจสอบ


2. ข้อใดเป็นอุปสรรคต่อทักษะการคิด
     • ง. ถูกทุกข้อ


3. “การที่ผู้เรียนสามารถนำเอาข้อมูลหรือหลักการมาพิจารณาหาความน่าจะเป็นได้” เป็นองค์ประกอบใดของความเข้าใจ
     • ค. การอนุมาน


• 4. ข้อใดเป็นขั้นตอนในการจัดการเรียนรู้แบบส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
     • ข. ขั้นสร้างความตระหนัก – ขั้นระดมพลังความคิด – ขั้นสร้างสรรค์ชิ้นงาน – ขั้นนำเสนอผลงาน 

           – ขั้นวัดและประเมินผล – ขั้นเผยแพร่ผลงาน
5.ข้อใดลำดับขั้นตอนรูปแบบการสอนแบบสืบสวนเพื่อพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ได้ถูกต้อง
     • ง. เสนอสถานการณ์ปัญหา – ตั้งสมมติฐาน – รวบรวมข้อมูลสรุปเป็นกฎเกณฑ์ในการแก้ปัญหา


6. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
     • ข. ความสามารถในการแก้ปัญหา 


7. ข้อใดคือกิจกรรมที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
     • ง. ถูกทุกข้อ


8. “การหาแนวคิดใหม่ๆ ด้วยการเอาใจเขามาใส่ใจเรา เข้าใจถึงมุมมองของคนอื่น” เป็นเครื่องมือสร้างความคิดสร้างสรรค์ใด
     • ค. การคิดด้วยสร้างความรู้สึกร่วมเป็นคนอื่น


9. “ความสามารถที่จะพยายามคิดให้หลายประเภทอย่างอิสระ” เป็นองค์ประกอบของความคิดเชิงสร้างสรรค์ในองค์ประกอบใด
     • ค. ความคิดยืดหยุ่น


10. “แนวคิดที่เป็นการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ขึ้น” เป็นประเภทใดของความคิดสร้างสรรค์
     • ก. ความคิดสร้างสรรค์ประเภทความเปลี่ยนแปลง


11. ข้อใดคือกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณตามแนวคิดของเอนนิส (Ennis, 1985)
    ข. ทักษะการนิยาม – ทักษะการตัดสินความน่าเชื่อถือของข้อมูล – ทักษะการอ้างอิง


12. “ควรฝึกตั้งคำถามให้ได้ว่า สิ่งนี้คืออะไร สิ่งนั้นคืออะไร อะไรมีประโยชน์ ทำอย่างไรจะสำเร็จประโยชน์อันนั้นเป็นกิจกรรมในการพัฒนาความคิดอย่างมีวิจารณญาณ กิจกรรมใด
   • ค. ฝึกตั้งสมมติฐานและตั้งคำถาม


13. การวิพากษ์เป็นองค์ประกอบของความสามารถระดับใด
     • ข. การประเมินค่า


14. กระบวนการคิดที่มุ่งพิจารณาอย่างรอบคอบเพื่อที่จะเชื่อหรือไม่เชื่อสิ่งใด หมายถึง
     • ข. การคิดไตร่ตรอง


15. การเทิดทูนบูชา เป็นสมรรถภาพของคนด้านใดตามแนบคิดของ Bloom
     • ก. ด้านความรู้สึก 


16. ข้อใดเรียงลำดับทักษะการคิดตามแนว Krulid & Rudnick (1993) ได้ถูกต้อง
     ง. การคิดในระดับการระลึก - การคิดพื้นฐาน – การคิดอย่างมีวิจารณญาณ – การคิดสร้างสรรค์


17. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการพัฒนาการคิดตามแนว Fraenkel (1980)
     • ง. ทักษะการคิดไม่สามารถเรียนรู้ได้


18. ข้อใดเป็นทักษะการคิดขั้นสูง หรือทักษะการคิดที่ซับซ้อน ทั้งหมด ตามแนวคิดของ ทิศนา แขมมณี และคณะ (2554)
     • ง. ทักษะการนิยาม ทักษะการทำนาย 


19. การแก้ปัญหา อยู่ในมิติการเรียนรู้ใด ตามแนวคิดของ Marzano et al., (1997)
     • ง. การนำความรู้ไปใช้


20. ข้อใดคือคุณลักษณะของผู้ที่มีการคิดขั้นสูง
     • ก. การจัดการกับสถานการณ์ที่ซับซ้อน


วันจันทร์ที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2558

UTQ-๕๕๑๒๔ แนะแนว


UTQ-๕๕๑๒๔ แนะแนว
จำนวน : 20 ข้อ ได้ 14 คะแนน 

1. ถ้าท่านต้องการเป็นครูแนะแนวที่ดี ท่านควรทำอย่างไร
     -ปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้

2. ครูแนะแนวคนใดมีคุณลักษณะเหมาะสมที่จะเป็นนักจิตวิทยาการปรึกษามากที่สุด
     -ถูกทุกข้อ

3. ครูสร้อยฟ้ากำลังให้การปรึกษานักเรียนชั้น ม. ซึ่งกำลังมีปัญหาทะเลาะกับเพื่อนชายที่สนิทและกำลังร้องไห้ถ้าท่านเป็นครู สร้อยฟ้าท่านจะใช้ทักษะการโต้ตอบกับนักเรียนอย่างไร
     *นักเรียน : หนูไม่เข้าใจว่าทำไมอยู่ดีๆ เขาก็ไม่คุยกับหนู ไม่โทรมา ไม่ติดต่อเลย หนูทำผิดอะไร ฮือๆๆๆ
     *ครูสร้อยฟ้า : ………………………………………………
         -ใจเย็นๆ ทุกอย่างแก้ไขได้จ้ะ

4. การจัดกิจกรรมแนะแนวสำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ สำหรับโรงเรียนสหศึกษาแห่งหนึ่งซึ่งเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ มีชื่อเสียงอยู่ใจกลางเมือง จัดการเรียนการสอนถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย นักเรียนส่วนใหญ่จะเรียนต่อในระดับที่สูงขึ้นไป ควรกำหนดสัดส่วนการจัดกิจกรรมแนะแนวตามลำดับมากไปหาน้อยอย่างไร
     -การศึกษา อาชีพ ส่วนตัวและสังคม

5. ข้อใดที่แสดงถึงการใช้ทักษะการปรึกษาเชิงจิตวิทยาของครูแนะแนว
     -เชิญนักเรียนมาพูดคุยให้เกิดความสบายใจ

6. การจัดกิจกรรมแนะแนวเรื่อง โลกกว้างทางการศึกษาสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ของครูคนใดที่จัดกิจกรรมแนะแนวได้เหมาะสมที่สุด
     -ข. ครูเมฆพานักเรียนไปชมมหาวิทยาลัย

7. สิ่งสำคัญที่ครูควรคำนึงในการเลือกเครื่องมือเพื่อใช้ในการแนะแนวคืออะไร
     -ความสอดคล้องกับจุดประสงค์

8. ขั้นตอนการศึกษารายกรณีขั้นตอนใดที่อาจจะต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านในการศึกษา
     -การวินิจฉัย

9. ข้อใดไม่ใช่ข้อกำหนดของจรรยาบรรณวิชาชีพจิตวิทยาการแนะแนว
     -มีความทันสมัยและทันต่อเหตุการณ์ต่างๆ

10. การปรึกษาของครูคนใดที่เอื้อให้ผู้มารับการปรึกษามีกำลังใจที่จะแก้ไขปัญหา
     -ครูพอเพียงให้กำลังใจนักเรียนสู้กับปัญหา

11. การวิเคราะห์หลักสูตรกิจกรรมแนะแนวในโรงเรียนข้อใดสำคัญที่สุด
     -ทุกข้อที่กล่าวมา

12. ข้อใดเป็นจุดอ่อนของการดำเนินงานบริการสนเทศในสถานศึกษาในด้านความพร้อมของบุคลากร
     -ครูแนะแนวมีภาระการสอนวิชากิจกรรมแนะแนวในคาบเรียนมาก

13. กระบวนการปรึกษาเชิงจิตวิทยาขั้นตอนใดที่อาจจะต้องมีการส่งต่อผู้เชี่ยวชาญ
     -ขั้นยุติการปรึกษา

14. ครูคนใดทำการศึกษารายกรณี (Case Study) โดยมีจุดมุ่งหมายชัดเจน
     -ถูกทุกข้อที่กล่าวมา

15. การเขียนรายงานการศึกษารายกรณีของครูคนใดถูกต้องตามวัตถุประสงค์
     -ถูกทุกข้อ

16. ถ้าเราต้องการทราบข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับตัวเด็กในระยะเวลาที่รวดเร็ว เทคนิคที่นิยมใช้ มากที่สุดคืออะไร
     -แบบสอบถาม

17. ครูแนะแนวท่านใดศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับนักเรียนโดยการสังเกตได้อย่างเหมาะสมที่สุด
     -ครูปฐพีเฝ้าติดตามพฤติกรรมตลอดเวลา

18. ข้อใดแสดงถึงจุดแข็งของการดำเนินงานบริการจัดวางตัวบุคคลในสถานศึกษาที่เป็นการให้ผู้มีส่วนได้เสียเข้ามามีส่วนร่วม
     -การแต่งตั้งกรรมการนักเรียนเป็นคณะกรรมการคัดเลือกนักเรียนเข้ารับทุนการศึกษา

19. การออกแบบกิจกรรมแนะแนวประกอบไปด้วยการจัดทำแผนระยะยาวและการเขียนแผน การจัดกิจกรรมรายคาบ ข้อใดเป็นขั้นตอนสุดท้ายของการจัดทำแผนรายคาบ
     -การกำหนดวิธีประเมินผลกิจกรรม

20. เทคนิคและเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษารายกรณีของครูคนใดเหมาะสมที่จะศึกษานักเรียนเป็นรายกรณีในปัญหาบุคลิกภาพมากที่สุด
     -ครูดินไปเยี่ยมบ้านนักเรียน

UTQ-55116 สุขศึกษา พลศึกษาระดับประถมศึกษา


UTQ-55116 สุขศึกษา พลศึกษาระดับประถมศึกษา
จำนวน  20 ข้อ ได้ 16 คะแนน

1. การสอนตะกร้อ เป็นการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ประการใด
     – รักความเป็นไทย

2. เหตุใดจึงต้องมีการประเมินสื่อ
     – เพื่อตัดสินใจในการใช้สื่อการสอนในครั้งต่อไป

3. การจัดกิจกรรมขั้นนำเข้าสู่บทเรียน สำคัญหรือไม่เพราะอะไร
     – สำคัญ เพราะเป็นการเร้าความสนใจ

4. ข้อใดเป็นลักษณะเกณฑ์การให้คะแนนแยกส่วน
     – การให้คะแนนโดยพิจารณาแต่ละส่วนโดยกำหนดแนวทางการให้คะแนนอย่างชัดเจน

5. การพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์คือ
     – การพัฒนาผู้เรียนไปสู่ความเจริญก้าวหน้าและความสงบสุขในสังคม

6. ข้อใดคือสิ่งที่ผู้เรียนจะได้รับจากการเรียนสุขศึกษา
     – พัฒนาศักยภาพด้านความเจริญเติบโตและพัฒนาการทางกาย

7. สาระการเรียนรู้แกนกลาง “พฤติกรรมเสี่ยงที่นำไปสู่การมีเพศสัมพันธ์ การติดเชื้อเอดส์ และการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร” อยู่ในสาระใด
     – ชีวิตและครอบครัว

8. ข้อใดคือสื่อวัสดุที่ไม่สามารถถ่ายทอดความรู้ได้ด้วยตนเอง
     – ลูกฟุตบอล

9. ข้อใดไม่ใช่การอบอุ่นร่างกายแบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย
     – กระโดดปรบมือเหนือศีรษะ

10. กิจกรรมใดควรใช้การประเมินด้านคุณภาพ
     – ยิมนาสติก

11. “การเต้นลีลาศ” เป็นการจัดกิจกรรมรูปแบใด
     – การจัดกิจกรรมประกอบเพลง

12. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาพลศึกษา ไม่ได้มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีพัฒนาการด้านใด
     – ด้านการคิด

13. มาตรฐานการเรียนรู้ “เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดำรงสุขภาพ การป้องกันโรค และการเสริมสร้างสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ” อยู่ในสาระใด
     -การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและป้องกันโรค

14. ความหมายของการประเมิน ตรงกับข้อใดมากที่สุด
     – การนำผลจากการวัดมาเปรียบเทียบกับเกณฑ์หรือมาตรฐาน

15. ข้อใดคือคุณภาพของผู้เรียนเมื่อจบช่วงชั้นที่ 2 (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6)
     – จัดการกับอารมณ์ ความเครียดและปัญหาสุขภาพได้อย่างเหมาะสม

16. ข้อใดเป็นการจัดกิจกรรมแบบมีอุปกรณ์
     – การกระโดดข้ามเครื่องกีดขวาง การกระโดดเชือก

17. กิจกรรมเข้าจังหวะ เป็นสื่อประเภทใด
     – สื่อกิจกรรม

18. การประเมินนักเรียนจากการปฏิบัติ เป็นการประเมินแบบใด
     – การประเมินตามสภาพจริง

19. ข้อใดเป็นองค์ประกอบสำคัญในการใช้สื่อให้เกิดประโยชน์
     – สื่อต้องมีความเหมาะสมกับผู้เรียน

20. ข้อใดกล่าวถึงจุดมุ่งหมายของพลศึกษา
    a) มุ่งเน้นให้ผู้เรียนพัฒนาพฤติกรรมด้านความรู้ เจตคติ คุณธรรม ค่านิยม และการปฏิบัติเกี่ยวกับสุขภาพควบคู่
        ไปด้วยกัน
     b) มุ่งเน้นให้ผู้เรียนใช้กิจกรรมการเคลื่อนไหว การออกกำลังกาย การเล่นเกมและกีฬา เป็นเครื่องมือในการพัฒนา
         โดยรวม ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญา รวมทั้งสมรรถภาพเพื่อสุขภาพและกีฬา
          – ข้อ a)

UTQ-๕๕๑๑๐ วิทยาศาสตร์ ระดับประถมศึกษาตอนปลาย


UTQ-๕๕๑๑๐ วิทยาศาสตร์ ระดับประถมศึกษาตอนปลาย
จำนวน : 20 ข้อ ได้ 17 คะแนน

1. ถ้าต้องการออกแบบการเรียนรู้เรื่องระบบการทำงานในร่างกาย เพื่อให้สอดคล้องตามหลักการเรียนวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน สำหรับนักเรียนประถมศึกษา ควรออกแบบอย่างไร
     -ง. ศึกษาจากแบบจำลอง

2. ข้อใดสอดคล้องกับการเรียนวิทยาศาสตร์แบบสืบสอบ รูปแบบการเรียนรู้ ขั้น(5E) ในขั้นขยายความรู้มากที่สุด
     -ส่งเสริมให้ผู้เรียนนำสิ่งที่ผู้เรียนได้เรียนรู้ไปประยุกต์ใช้เพื่อขยายความรู้และทักษะในสถานการณ์ใหม่

3. ข้อใดไม่สอดคล้องกับการเรียนวิทยาศาสตร์แบบสืบสอบ รูปแบบการเรียนรู้ ขั้น ในขั้นอธิบายและลงข้อสรุป
     -ก. ยอมรับคำอธิบายโดยไม่มีหลักฐานหรือเหตุผลประกอบ

4. การอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณก๊าซเรือนกกระจกกับปริมาณน้ำทะเลที่เพิ่มขึ้นเป็นการวัดผลความรู้ ความคิดในด้านใด
     -ก. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์

5. ข้อใดไม่สอดคล้องกับการเรียนวิทยาศาสตร์แบบสืบสอบ 5E ในขั้นสร้างความสนใจ
    -ก. บรรยาย

6. การนำความรู้เรื่องแรงลอยตัวไปสร้างเรือ เป็นการใช้ความรู้ความคิดด้านใด
     -ข. การนำความรู้ไปใช้

7. ข้อใดที่เป็นแนวคิดหลักของการสืบเสาะความรู้แบบวิทยาศาสตร์
     -ค. การสำรวจตรวจสอบทางวิทยาศาสตร์ สามารถทำได้หลายรูปแบบ แต่ผลของการสำรวจตรวจสอบจะไม่เหมือนเดิมทุกประการ 
      ต้องสังเกตและอภิปรายเพิ่มเติม

8. ข้อใดไม่ใช่หลักเกณฑ์ที่ใช้ในการคัดเลือกสื่อการเรียนรู้
     -ก. การประหยัดและคุ้มค่า

9. การเรียนวิทยาศาสตร์ในห้องเรียนสำหรับนักเรียนประถม ควรออกแบบอย่างไรให้เหมาะสม
     -ก. นักเรียนในวัยนี้ ยังไม่สามารถทำความเข้าใจสิ่งต่างๆที่เป็นนามธรรมได้ดี ควรให้ได้ลงมือทดลองและปฏิบัติและเรียนรู้ผ่ายสื่อ
      ต่างๆ เช่นของจริง การทดลองให้มาก

10. พิพิธภัณฑ์ไม้กลายเป็นหิน เหมาะกับการมาประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอนในเรื่องใดมากที่สุด
     ค. -กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก

11. ข้อใดไม่สอดคล้องกับการเรียนวิทยาศาสตร์แบบสืบสอบ(5E) ในขั้นสำรวจค้นหา
     -ข. บอกหรืออธิบายวิธีการแก้ปัญหา

12. เหตุใดจึงกล่าวว่า วิทยาศาสตร์เป็นวัฒนธรรมของโลกในสมัยใหม่ซึ่งเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้
     -ข. วิทยาศาสตร์ส่งเสริมให้มีการพัฒนาความรู้ใหม่ๆอยู่เสมอ รวมทั้งด้านเทคโนโลยีของโลกสมัยใหม่ด้วย

13. จงนำความรู้การหลอมเหลวของสาร มาอธิบายการเปลี่ยนสถานะของไอศกรีม จากข้อความข้างต้น เป็นการวัดผลและประเมินผลด้านความรู้ ความคิดในข้อใด
     -ง. ความรู้รวบยอดในเนื้อเรื่อง

14. การสอนแบบใดที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยดนเอง
     -ง. ให้นักเรียนลงมือทำโครงงานวิทยาศาสตร์และแบบProjecl-based leaming)

15. คำถามในข้อใดเป็นคำถามที่กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความคิดในขั้นความเข้าใจตามแนวคิดของ Benjamin Bloom,s Taxonomy of learning Domains
     -ก. เสียงในระดับที่มนุษย์ได้ยินอยู่ในระดับความถี่ใด

16. ข้อใดไม่ได้หมายถึงสื่อและแหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียน
     -ข. ผู้สอนประจำวิชา

17. ถ้าผู้สอนประเมินผลการใช้กล้องจุลทรรศน์ของนักเรียนด้วยการให้ปรับหาภาพให้คมชัดภายใน นาที เป็นการประเมินผลด้านการปฎิบัติในข้อใด
     -ค. ขั้นการทำด้วยความชำนาญ

18. ข้อใดตรงกับความหมายของคำว่า ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์
     -ง. ลักษณะเฉพาะตัวของวิทยาศาสตร์อันประกอบด้วยค่านิยม ข้อสรุป แนวคิด คำอธิบายต่างๆที่แฝงอยู่ในตัววิทยาศาสตร์ 
       ความรู้ทางวิทยาศาสตร

19. นักเรียนประถมศึกษาปีที่ 4-6 ควรได้รับการพัฒนาความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์มากขึ้นจากนักเรียนระดับชั้น ป.1-3 ในด้านใด
     - ข. ด้าน และ 3

20. ข้อใดเป็นสื่อการเรียนประเภท การทดลองของเสมือนจริง
     -ง. Plearnsoft

UTQ-๕๕๑๐๗ คณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา


UTQ-55107  คณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา 
จำนวน  20 ข้อ ได้ 18 คะแนน
1. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการใช้บัตรคำหรือแถบประโยค
     – ก. สามารถใช้การพิมพ์แทนการเขียนได้

2. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
     – ค. การวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาผู้เรียนทำเมื่อเสร็จสิ้นการเรียนการสอน

3. ข้อใดคือลักษณะของแบบทดสอบแบบแสดงวิธีทำ
     – ง. แบบทดสอบที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงวิธีการแก้ปัญหาหรือเขียนตอบอย่างอิสระ

4. ลักษณะใดเป็นการสอนคณิตศาสตร์ที่ไม่น่าเบื่อ
     – ก. ครูดึงดูดให้นักเรียนเกิดความสนใจ

5. ข้อใดไม่ใช่คุณลักษณะในทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
     –ข. การจดจำ

6. ข้อใดคือหลักการในการเลือกสื่อการเรียนสอน
     – ง. ถูกทุกข้อ

7. ข้อใดคือสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ทั้งหมด
     – ง. ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ พีชคณิต เรขาคณิต

8. แทนแกรมเหมาะสำหรับใช้สอนเรื่องอะไร
     – ง. เรชาคณิต

9. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการให้คะแนนแบบรูบิค (Rubric)
     – ก. การให้คะแนนที่ใช้หลักการของมาตรประมาณค่าประกอบกับการพรรณนาคุณภาพ

10. ข้อใดถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับการใช้เกมในการสอน
     – ก. เกมให้ความสนุกสนานในการเรียน

11. ข้อใดคือส่วนประกอบของสาระการเรียนรู้
     – ข. มาตรฐานการเรียนรู้

12. ข้อใดไม่ใช่คุณภาพผู้เรียนเมื่อเรียนจบชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
     -ค. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะและสมบัติของรูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม รูปวงกลม ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ทรงกระบอก 
       กรวยปริซึม พีระมิด มุม และเส้นขนาน

13. ข้อใดสอดคล้องกับการสอนเพื่อพัฒนาคุณลักษณะของผู้เรียนตามสาระและมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์
     – ข. การสอนให้คิดให้ปฏิบัติ

14. คณิตศาสตร์มีความจำเป็นอย่างไร?
     – ข. นำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม

15. สื่อของจริงในข้อใดสามารถนำมาใช้สอนเรื่องการนับ กรรวบรวมได้
     – ข. ก้อนหิน เมล็ดพืช ลูกปัด

16. สื่อการสอนในการสอนขั้นใดควรสร้างความสนใจให้ผู้เรียนอยากจะเข้าร่วมกิจกรรมและศึกษาในขั้นต่อไป
     –ก. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน

17. กิจกรรมใดบ้างที่เหมาะสมกับการสอนคณิตศาสตร์
   1) การเล่านิทานโจทย์ปัญหา
   2) แทนแกรม
      – ค. 1) และ 2) ถูกต้อง

18. ข้อใดไม่ใช่วิธีการใช้กระดานดำที่ถูกต้อง
     – ง. การเขียนควรเริ่มต้นเขียนจากกลางกระดาน

19. คำจำกัดความนี้คือสื่อการสอนชนิดใด “อุปกรณ์ที่เป็นกระดาษแข็งที่มีขนาดใหญ่พอที่ผู้เรียนสามารถมองเห็นได้ ชัดเจน ภายในอาจจะเป็นถ้อยคำ ข้อความ ภาพ หรือตัวเลข
     – ค. บัตรคำหรือแถบประโยค

20. ทำไมจึงจำเป็นต้องเรียนคณิตศาสตร์
     – ข. นำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม

UTQ-๕๕๑๐๕ ภาษาอังกฤษ ระดับประถมศึกษา


UTQ-๕๕๑๐๕ ภาษาอังกฤษ ระดับประถมศึกษา
  จำนวน  20 ข้อ  ได้ 14 คะแนน
1. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับสาระสำคัญทั้ง สาระในสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
     – ก. สาระสำคัญทั้ง 4 สาระมีความสำคัญต่อการวางแผนจัดการเรียนการสอน

2. ข้อใดเป็นแนวทางการประเมินผลการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ
     –ข.  ควรระบุสิ่งที่มุ่งประเมินให้ชัดเจน

3. การใช้การ์ตูนสั้นประกอบการสอนภาษาอังกฤษ ควรคำนึงถึงความเหมาะสมในประเด็นต่างๆ ยกเว้นข้อใด
     – ก. การ์ตูนที่นำมาใช้สอนต้องส่งเสริมความคิด

4. ข้อใดเป็นวิธีการประเมินตามสภาพจริงทั้งหมด
     – ก. การใช้แฟ้มสะสมผลงาน การสังเกต การรายงานตนเอง

5. จากองค์ประกอบขั้นตอนในการสร้างเกณฑ์การประเมินแบบรูบริคดังต่อไปนี้
   1) ระบุเกณฑ์ของมาตรที่กำหนด
   2) กำหนดมาตรวัดความสามารถ
   3) ระบุคำอธิบายและรายละเอียดความสามารถที่ผู้เรียนต้องปฏิบัติได้ในมาตรวัดแต่ละระดับ
   4) ระบุความสามารถที่ผู้เรียนต้องปฏิบัติได้ในมาตรวัดแต่ละระดับ
ข้อใดเรียงลำดับขั้นตอนการสร้างรูบริคสำหรับประเมินทักษะการใช้ภาษาของผู้เรียนได้ถูกต้อง
     – ก. 2) > 1) > 4) > 3)

6. ข้อใดเป็นลักษณะของการวัดประเมินผลตามแนวทางการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร
     – ข. การทดสอบความสามารถการใช้ภาษาในสถานการณ์จริง

7. ข้อใดไม่ใช่เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค
    – ค. Annotated Analytic Rubrics

8. ข้อใดไม่ใช่เกณฑ์การประเมินความสามารถในการใช้ภาษาแบบ Analytic Rubrics
     – ง. การประเมินทักษะการพูดและการเขียน (Speaking & Writing) ในด้าน Content, Vocabulary, Accuracy/Grammar/Language Use

9. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับ การสอนตามแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร (Communicative Approach)”
     – ค. ครูจะให้นักเรียนเรียนรู้โครงสร้างของประโยคแล้วจึงฝึกสื่อสารตามประโยคสนทนาในสถานการณ์ต่างๆ

10. ข้อใดเป็นกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศที่เหมาะสมกับนักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนปลาย (ป.4-ป.6)
     – ข. เน้นการอ่าน เขียน และฝึกทักษะการฟัง พูด ต่อเนื่องจากการเรียนในช่วงต้น

11. หลักการสอนตามแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารประการหนึ่งคือ การยอมให้เกิดความผิดพลาดขึ้นได้ในขอบเขตที่พอเหมาะ ครูและเพื่อนนักเรียนคนอื่นๆ ต้องเพิกเฉยต่อความผิดพลาดเล็กๆ น้อยๆ ที่เกิดขึ้นในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร หลักการดังกล่าวหมายความว่าอย่างไร
     – ค. การมุ่งจับผิดข้อผิดพลาดในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารจะทำให้ผู้เรียนไม่กล้าฝึกฝน

12. ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่การจัดการเรียนการสอนตามแนวการสอนเพื่อการสื่อสาร
     – ค. การเรียนในชั้นเรียนเริ่มจากการสอนหลักไวยากรณ์

13. ข้อใดเป็นการประเมินความสามารถในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารตามสภาพจริง
     – ง. ถูกทุกข้อ

14. ในการใช้สื่อบันเทิงเพื่อการเรียนการสอนภาษาอังกฤษผู้สอนควรคำนึงถึงสิ่งใดเป็นสำคัญ
     – ง. ควรพยายามใช้สื่อหลากหลายในการสอนเรื่องหนึ่งๆ

15. ลักษณะของกิจกรรมในข้อใดที่ช่วยส่งเสริมทักษะการเขียน
     – ค. การตอบจดหมายเพื่อนต่างโรงเรียน

16. ข้อใดเป็นการจัดการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศที่เน้นสาระสำคัญ ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
     – ง. ถูกทุกข้อ

17. ข้อใดเป็นกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศที่เหมาะสมกับนักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนต้น (ป.1-ป.3)
     – ง. เน้นการฝึกทักษะการฟังและการพูด โดยยังไม่คำนึงถึงเรื่องความถูกต้องตามหลักไวยากรณ์

18. ประโยชน์ของบทบาทสมมติที่มีต่อการสอนภาษาต่างประเทศ คือข้อใด
     –ง. ถูกทุกข้อ

19. ข้อใดไม่ใช่แนวทางในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะพึงประสงค์ในการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
     – ข. เสนอแนะเพื่อปรับแก้ข้อบกพร่องในการใช้ภาษาของนักเรียนทันทีที่เกิดการผิดพลาด

20. ข้อใดไม่ใช่หลักการใช้สื่อบันเทิงเพื่อการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
     – ค. การใช้สื่อที่เน้นความสนุกสนานมากกว่าเนื้อหาสาระวิชาการเพื่อดึงดูดใจผู้เรียน

UTQ-๕๕๑๐๓ สังคมศึกษา ระดับประถมศึกษา


UTQ-๕๕๑๐๓ สังคมศึกษา ระดับประถมศึกษา
จำนวน  :20 ข้อ  ได้ 15 คะแนน


1. มาตรฐานการเรียนรู้ที่ใช้กำหนดคุณภาพผู้เรียนมีด้านใดบ้าง
     ข. กิจกรรมการเรียนรู้ ทักษะกระบวนการเรียน การวัดประเมินผล

2. ข้อใดเป็นการตั้งคำถามแบบนำไปใช้
     ก. ข้อใดแสดงถึงวิธีการประเคนของให้พระสงฆ์ที่ถูกต้อง

3. ข้อใดไม่ใช่การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
     ง. เป็นการเรียนที่ผู้เรียนไม่มีส่วนร่วม

4. เนื้อหาเรื่อง วิถีประชาธิปไตย จัดอยู่ในสาระใดของสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
     ข. หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในสังคม

5.สาระการเรียนรู้สังคม ศาสนาและวัฒนธรรม ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 มีเนื้อหากี่สาระ
     ค. สาระ

6. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้จะต้องพิจารณาเรื่องสำคัญใดบ้าง
     ข. หลักสูตร ลักษณะของผู้เรียน มาตรฐานการเรียนรู้

7. ข้อใดไม่ใช่การเรียนการสอนแบบ Edu tainment
     ก. ครูใช้กิจกรรมแผนที่ความคิดให้นักเรียนทำเรื่องสหกรณ์

8. ข้อใดเรียงลำดับการจำแนกระดับของคำถามตามทฤษฎี BLOOMs TAXONOMY ได้ถูกต้อง
     ก. ความรู้ ความเข้าใจ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การนำไปใช้ การประเมินผล

9. การบูรณาการสอน คืออะไร
     ข. เป็นการนำความรู้วิขาต่างๆ มาผสมผสานและจัดเรียนในหัวข้อเดียวกัน

10. การสอนแบบทัศนศึกษามีข้อดีแตกต่างจากการสอนแบบอื่นๆ อย่างไร
     ข. เป็นการเรียนที่นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรม

11. นักเรียนรู้สึกอย่างไร ถ้าคนไทยไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย เป็นคำถามที่วัดความรู้ระดับใด
     ค. การประเมินค่า

12. ทัศนศึกษาเสมือนจริง คืออะไร
   ง. เป็นการนำการเรียนรู้นอกห้องเรียนมาบูรณาการผ่านสื่อดิจิตทัล

13. ลักษณะภาพยนตร์ที่ครูควรหลีกเลี่ยงนำไปใช้ประกอบการเรียนการสอน
     ง. ถูกทุกข้อ

14. ข้อใดแสดงขั้นตอนการจัดทัศนศึกษาได้ถูกต้อง
     ง. การวางแผน การเดินทาง การศึกษาข้อมูล การประเมินผล

15. ตัวชี้วัดของเนื้อหา เรื่องจิตสาธารณะ ที่เหมาะสมที่สุดคือข้อใด
   ก. เอ ร่วมทำความสะอาด Big Cleaning Day ของโรงเรียน

16. หากต้องการสอนเรื่องความสามัคคี ควรเลือกภาพยนตร์เรื่องใดจึงเหมาะสม
     ข. บางระจัน

17. การปฏิบัติตนของใครช่วยรักษาโบราณสถาน เป็นคำถามที่วัดความรู้ระดับใด
     ค. การสังเคราะห์

18. ข้อใดไม่อยู่ในคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
     ข. ความขยันหมั่นเพียร

19. เรื่อง ยุคสมัยกับการเวลา จัดอยู่ในสาระใดของการเรียนรู้การวัดความรู้ก่อนเรียน
     ง. ประวัติศาสตร์

20. นัก เรียนไปทัศนศึกษาที่วัดนิเวศน์ธรรมประวัติ ได้นั่งรอกเพื่อข้ามฝั่งน้ำ วิทยากรได้อธิบายการใช้รอก...... ที่ขีดเส้นใต้แสดงว่าเป็นการบูรณาการกับวิชาใด
     ข. วิทยาศาสตร์